กิจกรรม
ณ ศูนย์ไตรสิกขา
กิจกรรมที่ศูนย์ไตรสิกขาฟลอริดา:
ไตรสิกขาฟลอริดามีกิจกรรมตลอดปี รวมทั้งการร่วมปฏิบัติธรรมทุกวันอาทิตย์ ยกเว้นในช่วงที่มีคอรสเนกขัมมะ โดยไม่มีคำใช้จ่ายแต่อย่างไร หากท่านใดสนใจทราบตารางเวลาของกิจกรรมที่ศูนย์ไตรสิกขาฟลอริดา กรุณาติดตามได้ที่หน้าปฏิทินกิจกรรมของศูนย์ไตรสิกขาฟลอริดา
“...1. รักษาศิล
พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ว่า “ฆราวาสจะรักษาศีลให้สะอาดหมดจด เหมือน
หอยสังข์ที่ขัดดีแล้วนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก” แต่เราก็ต้องพยายามรักษาศีลให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตั้งใจว่าเราจะไม่ทำบาปอกุศลทางกายและทางวาจา5 อย่าง ตั้งแต่ตื่นนอน คอยเตือนตัวเองเรื่อยๆ วันหนึ่งหลายๆ รอบจนจะนอนก็ยังตั้งใจรักษาศีลการรักษาศีลให้ดีที่สุดก็คือการมีสติรักษาจิต กิเลสอะไรเกิดขึ้นที่จิตให้รู้ทันถ้าเรารู้ทันได้ กิเลสจะครอบงำจิตไม่ได้ ศีลจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
2. การฝึกจิตใจให้มีความสุขความสงบ
ถ้าจิตใจฟุ้งซ่านก็ให้มานึกถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเมื่อจิตมาอยู่กับสิ่งนั้นแล้วมี
ความสุข เช่น ถ้าเราหายใจเข้าหายใจออกมีความสุข เราก็มาอยู่กับลมหายใจถ้าเราคิดถึงพระพุทธเจ้าแล้วมีความสุข เราก็พุทโธๆ คิดถึงพระพุทธเจ้าไปเรื่อย ดูท้องพองยุบแล้วมีความสุขก็ดูไป เดินจงกรมแล้วมีความสุขก็เดินไปถ้าเราอยู่กับอารมณ์ที่มีความสุข จิตจะสงบเอง จิตจะไม่วิ่งพล่านไปหาความสุขที่อื่น ฝึกไปเรื่อย เราจะได้จิตที่สงบ มีความสุข การเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวแบบนี้เป็นสมถกัมมัฏฐาน เรียกว่า “อารัมมณูปนิชฌาน”
3.ฝึกจิตใจให้มีสมาธิตั้งมั้นเป็นผู้รู้
ต่อไปเราต้องมาฝึกให้จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้รู้อารมณ์ จิตเป็นแค่คนดู เห็นอารมณ์ทั้งหลายไหลผ่านไป เป็นสมาธิที่สามารถเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ สมาธิชนิดนี้มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา เรียกว่า“ลักขณูปนิชฌาน” เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนากัมมัฏฐาน และเกิดในขณะที่เกิดอริยมรรค เกิดในขณะที่เกิดอริยผล และเกิดในขณะที่พระอริยบุคคลเข้าผลสมาบัติ
วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่นมี 3 วิธี
วิธีที่ 1 สำหรับคนทั่วไปทำยากหน่อยคือการทำฌาน เช่น การทำอานาปานสติรู้ลมหายใจ หรือเพ่งกสิณจนได้ฌานที่ 2 จิตจะทวนกลับมาที่ตัวรู้ ละวิตกละวิจาร จิตก็ตั้งมั่น เรียกว่าจิตมีเอโกทิภาวะคือมีความเป็นหนึ่ง พอได้ตัวรู้ในฌานที่ 2 แล้ว เมื่อออกจากฌาน ตัวรู้จะเด่นอยู่อีกหลายวัน แต่ไม่เกิน 7 วัน ก็จะหมองๆ ไปอีก ถ้าเราได้ตัวรู้ด้วยวิธีนี้ เราจะปฏิบัติธรรมได้สบายมาก เพราะมีกำลังของสมาธิแรงกล้า แต่ถ้าพวกเราเข้าฌานไม่ได้ก็อย่าท้อใจให้ทำสมาธิวิธีที่ 2 ซึ่งง่ายกว่ามาก
วิธีที่ 2 คนทั่วไปทำได้ง่ายมาก ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าตัวรู้กับตัวคิดนั้นตรงข้ามกัน ถ้าเมื่อไรเป็นตัวรู้ก็ไม่ใช่ตัวคิด ถ้าเมื่อไรเป็นตัวคิดก็ไม่ใช่ตัวรู้ ดังนั้น ให้เรารู้ทันเวลาจิตไหลไปคิด พอจิตไหลไป เรารู้ทัน จิตที่ไหลไปคิดจะดับ จะเกิดจิตที่เป็นตัวรู้ขึ้นมาแทน ง่ายๆแค่นี้เอง
แต่การที่จะรู้ทันจิตที่ไหลไปคิดต้องมีตัวช่วยไม่ให้มันไหลไปนาน โดยต้องหาเครื่องอยู่ให้จิต จะอยู่กับพุทโธก็ได้ อยู่กับลมหายใจก็ได้ ดูท้องพองยุบก็ได้แล้วเราก็แค่คอยรู้ทันจิตที่ไหลไป เช่น เวลาเราพุทโธ หรือรู้ลมหายใจหรือรู้ท้องพองยุบ เวลาจิตไหลไปคิดหรือไปเพ่ง ก็ให้รู้ทันจิตที่ไหลไปจิตที่ไหลไปจิตที่เคลื่อนไปคือจิตที่ฟุ้งซ่าน ถ้าเรารู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตไหลไปคิดก็รู้ จิตไหลไปเพ่งก็รู้ ความฟุ้งซ่านจะดับอัตโนมัติ (เพราะเมื่อสติเกิด อกุศลจะดับอัตโนมัติ) จิตจะเลิกฟุ้งซ่าน จิตก็ตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดูโดยอัตโนมัติต้องระวังว่าอย่าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมา เพราะถ้าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมาจะเป็นตัวปลอมผู้รู้ตัวนี้จะแข็งกระด้าง ใช้ไม่ได้จริงหรอก มันจะทื่อๆ ไปทั้งวันเลย
วิธีที่ 3 สำหรับคนที่ทำฌานก็ไม่ได้ เเละดูจิตที่เคลื่อนไปจับอารมณ์ก็ไม่เห็นก็ให้ใช้สติคอยรู้สึกอยู่ในร่างกาย เช่น เห็นร่างกายหายใจ ก็ให้ทำความรู้สึกเหมือนเห็นคนอื่นหายใจ เห็นร่างกายยืน เดิน นั่ง นอน ก็ให้ทำความรู้สึกเหมืิอนเห็นคนอื่นยืน เดิน นั่ง นอน ถ้าเราทำความรู้สึกในกายว่าร่างกายนี้เหมือนหุ่นยนต์เหมืิอนสิ่งที่ถูกรู้ถูกดู จิตที่เป็นผู้รู้ผู้ดูก็จะมีขึ้นมาได้เหมือนกัน เเต่ก็มีข้อเสีย คือถ้าทำความรู้สึกเเรงเกินไป หรือจงใจมาจับตัวรู้ ตัวรู้นี้จะเเข็งเกินไป กลายเป็นเพ่งตัวรู้ ซึ่งเป็นการติดสมถะที่เเก้ยากมาก
โรดแม็พ ธรรมปฏิบัติ ทางเดินสู่โลกุตตรธรรม หน้าที่ 215
หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมชุโช
<<<<<<<<<<<<<<<<
http://www.dhamma.com/en/ and
http://www.trisikkhameditationcenter.org/
<<<<<<<<<<<<<<<
“...1. รักษาศิล
พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ว่า “ฆราวาสจะรักษาศีลให้สะอาดหมดจด เหมือน
หอยสังข์ที่ขัดดีแล้วนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก” แต่เราก็ต้องพยายามรักษาศีลให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตั้งใจว่าเราจะไม่ทำบาปอกุศลทางกายและทางวาจา5 อย่าง ตั้งแต่ตื่นนอน คอยเตือนตัวเองเรื่อยๆ วันหนึ่งหลายๆ รอบจนจะนอนก็ยังตั้งใจรักษาศีลการรักษาศีลให้ดีที่สุดก็คือการมีสติรักษาจิต กิเลสอะไรเกิดขึ้นที่จิตให้รู้ทันถ้าเรารู้ทันได้ กิเลสจะครอบงำจิตไม่ได้ ศีลจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
2. การฝึกจิตใจให้มีความสุขความสงบ
ถ้าจิตใจฟุ้งซ่านก็ให้มานึกถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเมื่อจิตมาอยู่กับสิ่งนั้นแล้วมี
ความสุข เช่น ถ้าเราหายใจเข้าหายใจออกมีความสุข เราก็มาอยู่กับลมหายใจถ้าเราคิดถึงพระพุทธเจ้าแล้วมีความสุข เราก็พุทโธๆ คิดถึงพระพุทธเจ้าไปเรื่อย ดูท้องพองยุบแล้วมีความสุขก็ดูไป เดินจงกรมแล้วมีความสุขก็เดินไปถ้าเราอยู่กับอารมณ์ที่มีความสุข จิตจะสงบเอง จิตจะไม่วิ่งพล่านไปหาความสุขที่อื่น ฝึกไปเรื่อย เราจะได้จิตที่สงบ มีความสุข การเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวแบบนี้เป็นสมถกัมมัฏฐาน เรียกว่า “อารัมมณูปนิชฌาน”
3.ฝึกจิตใจให้มีสมาธิตั้งมั้นเป็นผู้รู้
ต่อไปเราต้องมาฝึกให้จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้รู้อารมณ์ จิตเป็นแค่คนดู เห็นอารมณ์ทั้งหลายไหลผ่านไป เป็นสมาธิที่สามารถเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ สมาธิชนิดนี้มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา เรียกว่า“ลักขณูปนิชฌาน” เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนากัมมัฏฐาน และเกิดในขณะที่เกิดอริยมรรค เกิดในขณะที่เกิดอริยผล และเกิดในขณะที่พระอริยบุคคลเข้าผลสมาบัติ
วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่นมี 3 วิธี
วิธีที่ 1 สำหรับคนทั่วไปทำยากหน่อยคือการทำฌาน เช่น การทำอานาปานสติรู้ลมหายใจ หรือเพ่งกสิณจนได้ฌานที่ 2 จิตจะทวนกลับมาที่ตัวรู้ ละวิตกละวิจาร จิตก็ตั้งมั่น เรียกว่าจิตมีเอโกทิภาวะคือมีความเป็นหนึ่ง พอได้ตัวรู้ในฌานที่ 2 แล้ว เมื่อออกจากฌาน ตัวรู้จะเด่นอยู่อีกหลายวัน แต่ไม่เกิน 7 วัน ก็จะหมองๆ ไปอีก ถ้าเราได้ตัวรู้ด้วยวิธีนี้ เราจะปฏิบัติธรรมได้สบายมาก เพราะมีกำลังของสมาธิแรงกล้า แต่ถ้าพวกเราเข้าฌานไม่ได้ก็อย่าท้อใจให้ทำสมาธิวิธีที่ 2 ซึ่งง่ายกว่ามาก
วิธีที่ 2 คนทั่วไปทำได้ง่ายมาก ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าตัวรู้กับตัวคิดนั้นตรงข้ามกัน ถ้าเมื่อไรเป็นตัวรู้ก็ไม่ใช่ตัวคิด ถ้าเมื่อไรเป็นตัวคิดก็ไม่ใช่ตัวรู้ ดังนั้น ให้เรารู้ทันเวลาจิตไหลไปคิด พอจิตไหลไป เรารู้ทัน จิตที่ไหลไปคิดจะดับ จะเกิดจิตที่เป็นตัวรู้ขึ้นมาแทน ง่ายๆแค่นี้เอง
แต่การที่จะรู้ทันจิตที่ไหลไปคิดต้องมีตัวช่วยไม่ให้มันไหลไปนาน โดยต้องหาเครื่องอยู่ให้จิต จะอยู่กับพุทโธก็ได้ อยู่กับลมหายใจก็ได้ ดูท้องพองยุบก็ได้แล้วเราก็แค่คอยรู้ทันจิตที่ไหลไป เช่น เวลาเราพุทโธ หรือรู้ลมหายใจหรือรู้ท้องพองยุบ เวลาจิตไหลไปคิดหรือไปเพ่ง ก็ให้รู้ทันจิตที่ไหลไปจิตที่ไหลไปจิตที่เคลื่อนไปคือจิตที่ฟุ้งซ่าน ถ้าเรารู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตไหลไปคิดก็รู้ จิตไหลไปเพ่งก็รู้ ความฟุ้งซ่านจะดับอัตโนมัติ (เพราะเมื่อสติเกิด อกุศลจะดับอัตโนมัติ) จิตจะเลิกฟุ้งซ่าน จิตก็ตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดูโดยอัตโนมัติต้องระวังว่าอย่าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมา เพราะถ้าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมาจะเป็นตัวปลอมผู้รู้ตัวนี้จะแข็งกระด้าง ใช้ไม่ได้จริงหรอก มันจะทื่อๆ ไปทั้งวันเลย
วิธีที่ 3 สำหรับคนที่ทำฌานก็ไม่ได้ เเละดูจิตที่เคลื่อนไปจับอารมณ์ก็ไม่เห็นก็ให้ใช้สติคอยรู้สึกอยู่ในร่างกาย เช่น เห็นร่างกายหายใจ ก็ให้ทำความรู้สึกเหมือนเห็นคนอื่นหายใจ เห็นร่างกายยืน เดิน นั่ง นอน ก็ให้ทำความรู้สึกเหมืิอนเห็นคนอื่นยืน เดิน นั่ง นอน ถ้าเราทำความรู้สึกในกายว่าร่างกายนี้เหมือนหุ่นยนต์เหมืิอนสิ่งที่ถูกรู้ถูกดู จิตที่เป็นผู้รู้ผู้ดูก็จะมีขึ้นมาได้เหมือนกัน เเต่ก็มีข้อเสีย คือถ้าทำความรู้สึกเเรงเกินไป หรือจงใจมาจับตัวรู้ ตัวรู้นี้จะเเข็งเกินไป กลายเป็นเพ่งตัวรู้ ซึ่งเป็นการติดสมถะที่เเก้ยากมาก
โรดแม็พ ธรรมปฏิบัติ ทางเดินสู่โลกุตตรธรรม หน้าที่ 215
หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมชุโช
<<<<<<<<<<<<<<<<
http://www.dhamma.com/en/ and
http://www.trisikkhameditationcenter.org/
<<<<<<<<<<<<<<<
เดือนสิงหาคม-กันยายน 2568
😇เนื่องจากอาจารย์มีเหตุสำคัญ ต้องจัดการต่อเนื่องที่ฟลอริดา จนกว่าจะแล้วเสร็จ
จึงไม่สามารถเดินทางมาจัดคอร์สที่ประเทศไทยด้วยตัวเองได้ในระหว่างนี้
แต่อาจารย์ยังมีความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่พระธรรมคำสอนอันบริสุทธิ์ ที่เป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์
ให้ศิษย์เก่าและศิษย์ใหม่ได้มาเรียนรู้ และมาต่อเนื่องการปฏิบัติที่ศูนย์เพชรบุรี 🍀
✨ครั้งนี้ จะเป็นการจัดคอร์สในรูปแบบพิเศษ
🌳โดยอาจารย์จะไลฟ์สดจากศูนย์ฟลอริดา มายังศูนย์เพชรบุรี 🛜
ซึ่งอาจารย์จะยังคงเห็นสภาวะธรรมของผู้เรียน ถามตอบ และยังส่งสภาวะธรรมได้ตลอดเมื่อติดปัญหา
😊มาร่วมเรียนรู้หลักธรรมเพื่อการพ้นทุกข์ ถือศีลแปด และฝึกปฏิบัติภาวนา ควบคู่ไปด้วยกัน
เพื่อได้เรียนรู้ ได้เห็น รูป และนาม ตามความเป็นจริง 💐หากท่านมีปณิธาน มีความปราถนาที่จะพ้นทุกข์ อย่าพลาดโอกาสสำคัญในสังสารวัฏนี้ โอกาสหมดแล้วหมดเลย
🌼อ่านกฎระเบียบภายในคอร์ส และกรอกใบสมัครได้ที่ 👇
https://trisikkha.org/เนกขัมมะ/
📌ส่วนทางเฟสบุกไลฟเรียนที่บ้านท่านยังเปิดรับอยู่ครับ
📌ท่านใดสนใจเข้าร่วมเชิญลงทะเบียนได้เลยครับ
อนุโมทนาครับ
👇👇👇
🗣️😌🪴 มาต่อเนื่องการปฏิบัติภาวนากันครับ
คอร์สเนกขัมมะไฮบริด เดือนมิถุนายน 2568
เปิดรับสมัครแล้ว!!!
😇สอบถามกันเข้ามามาก สำหรับคอร์สเนกขัมมะแบบไฮบริด ทั้งรูปแบบออนไลน์ หรือ ปฏิบัติร่วมกันที่ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี ระหว่างวันที่ 13-17 มิถุนายน 2568 ฟรี!
ขอเรียนเชิญญาติธรรมร่วมถือศีลแปด ฝึกการภาวนาในรูปแบบและเรียนรู้ธรรมะขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า บรรยายธรรมโดย อาจารย์ วิลลี่ พุฒซ้อน
📆 Date: 13-17 มิถุนายน 2568 (ปฐมนิเทศ 12 มิถุนายน 2568)
ท่านสามารถเข้าร่วมได้ 2 รูปแบบ
1) 👩💻 เข้าร่วมแบบออนไลน์ มีการบรรยายธรรมผ่านเฟสบุ้คไลฟ์ และถือศีลแปด รวมถึงปฏิบัติภาวนาที่บ้านในเวลาของท่าน หรือ
2) 🧘🏻 มาปฏิบัติด้วยตัวเองที่ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี และเข้าชมการบรรยายธรรมผ่านเฟซบุ๊คไลฟ์ร่วมกัน (รับเฉพาะท่านที่เคยเข้าคอร์สที่ศูนย์เพชรบุรี)
สมัครฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายตลอดคอร์ส กรอกใบสมัครที่
https://forms.gle/Lm84hZWN2SfCrET58
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่
LINE: @trisikkha (มีเครื่องหมาย @)
“...โยม : กราบนมัสการค่ะหลวงพ่อ หนูไม่ได้ส่งการบ้านมา ๘ เดือนแล้วค่ะ มันก็เจริญแล้วเสื่อมสลับกันไปค่ะ แต่ว่า ๒-๓ เดือนนี้ กิเลสตัวลังเลสงสัยน่ะค่ะ มันเยอะน่ะค่ะ โดยเฉพาะลังเลสงสัยเกี่ยวกับคำบริกรรมพุทโธของหนูว่า เออ..มันถูกมั้ย (หลวงพ่อปราโมทย์ : หือ? สงสัยยังไง) ว่ามันใช่ทางมั้ย? เพ่งแล้วนะ อะไรอย่างนี้
หลวงพ่อปราโมทย์ : อ้อ.. สังเกตที่จิตเราสิ พุทโธนี่นะ พุทโธแล้วคอยรู้ทันจิตของเราไป ไม่ใช่พุทโธไปบังคับจิตให้นิ่ง พุทโธ พุทโธ พุทโธ จิตฟุ้งซ่าน รู้ทัน พุทโธ พุทโธ จิตสงบ รู้ทัน นะ ฝึกอย่างนี้ พุทโธแล้วรู้ทันจิต อย่าไปพุทโธแล้วบังคับจิตนะ
โยม : หนูบังคับหรือคะ?
หลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าบังคับมันจะแน่น หนูวัดได้ด้วยตัวเอง
โยม : คือ หลังๆมันก็ไม่แน่นน่ะค่ะ
หลวงพ่อปราโมทย์ : มันฟุ้งหรือเปล่า?
โยม : ค่ะ ค่ะ คือหลวงพ่อคะ คือว่าหนูน่ะ สมมุติว่าหลวงพ่อแนะนำให้น้องคนนี้ไปดูกายใช่มั้ยคะ แต่หนูมีความรู้สึกว่า หนูน่ะมาดูกายไม่เป็น
หลวงพ่อปราโมทย์ : ไม่จำเป็น ทางใครทางมัน
โยม : ค่ะ ก็คือทำความสงบ
หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำความสงบนะ แล้วก็รู้ทันจิตไป (โยม : ค่ะ) เช่น พุทโธ พุทโธ ไป จิตสงบรู้ว่าสงบ พุทโธไป จิตฟุ้งซ่าน รู้ว่าฟุ้งซ่าน ให้จิตมีบ้านอยู่ อยู่กับพุทโธก็ได้ แต่พุทโธแล้วไม่ได้พุทโธบังคับจิต แต่พุทโธรู้ทันจิต"
File: 550429B.mp3
โยม : เมื่อเดือนที่แล้วมาส่งการบ้านน่ะค่ะ หลวงพ่อบอกว่าตั้งใจดูมันมากเกินไปน่ะค่ะ (หลวงพ่อปราโมทย์ : อื้อ) พอหลังจากนั้นมันเหมือนลงไปบ่อยน่ะค่ะ
หลวงพ่อปราโมทย์ : คือ การปฏิบัติที่ผิดมีสองอันนะ ความสุดโต่งสองด้าน ด้าหนึ่งหลงไปเผลอไป ด้านหนึ่งเพ่งไว้ประคองไว้บังคับไว้
ทีนี้ถ้าเราประคองไว้เรื่อยไปนะ เราก็ไม่ทำชั่ว แต่ไม่เกิดปัญญา แล้วเราปล่อย จิตหนีไป ปล่อยไปนะ ไปทำชั่วได้ แต่ถ้าเรามีสติรู้ทันความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของจิต เราจะได้ปัญญา
เพราะฉะนั้นการที่เราจะปล่อยให้จิตทำงานจนเกิดปัญญานี้ มีความเสี่ยงเหมือนกัน แต่ว่าถ้าจิตของหนูพอปล่อยปุ๊บเนี่ย แต่เดิมเราประคองมากเลย ถ้าเราปล่อยเมื่อไหร่มันจะฟุ้ง ฟุ้งแหลกลาญเลย
มันมีวิธี คล้ายๆว่า จะจับนะแต่แกล้งปล่อย คืออย่ามาจับมันเต็มที่ จับนิดๆ แตะๆเอาไว้ เช่น พุทโธๆไป หาเครื่องอยู่ให้จิต แต่ไม่ใช่พุทโธให้จิตนิ่ง พุทโธๆไป จิตหนีไปแล้ว รู้ทัน อ่ะ มาพุทโธใหม่ ที่หนีไปแล้วไม่ว่ากัน พุทโธๆ หนีไปอีก รู้ทัน หาเครื่องอยู่ให้จิตอยู่นะ แล้วก็ไม่บังคับว่าจิตจะต้องอยู่กับอารมณ์อันนั้น
บางคนรู้ลมหายใจ หายใจสบายๆไป จิตหนีไปคิดรู้ทัน จิตไปอยู่ที่ลมหายใจรู้ทัน นะ จิตเป็นยังไงรู้ทันไปเรื่อย อย่างนี้จะไม่หลงยาว ถ้าจิตไม่มีเครื่องอยู่น่ะ จิตจะหลงยาว
เพราะฉะนั้นมันจะมีการปฏิบัติที่ผิดอยู่ ๒ อันนะ ที่ถูกอยู่อันหนึ่ง ที่ผิดเนี่ย ปล่อยจิตให้หลงไปเลย นานๆเลยเนี่ย ผิดแน่นอน ที่ผิดอันที่สองเนี่ย ไปเพ่งจิตไว้ บังคับจิตไว้ จนมันเคลื่อนไหวไม่ได้ เครียดๆหนักๆนะ อันนี้ก็ผิดนะ
ที่ถูกก็คือ มีเครื่องอยู่ของจิตไว้อันหนึ่ง ไม่ได้ถึงขนาดจับไว้ไม่ให้กระดุกกระดิก แต่มีเครื่องอยู่พอให้จิตได้อาศัย พุทโธไป หายใจไป พุทโธไป อะไรก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิต ไม่ใช่บังคับจิตให้นิ่ง แต่พุทโธไปหายใจไปเพื่อคอยรู้ทันจิต พุทโธๆจิตหนีไปคิด รู้ทัน พุทโธๆจิตมีความสุข รู้ทัน จิตมีความทุกข์ รู้ทัน พุทโธแล้วรู้ทันจิตไป จะไม่หลงนาน ถ้าเราไม่มีเครื่องอยู่จะหลงนาน…
โยม : กราบนมัสการค่ะหลวงพ่อ หนูไม่ได้ส่งการบ้านมา ๘ เดือนแล้วค่ะ มันก็เจริญแล้วเสื่อมสลับกันไปค่ะ แต่ว่า ๒-๓ เดือนนี้ กิเลสตัวลังเลสงสัยน่ะค่ะ มันเยอะน่ะค่ะ โดยเฉพาะลังเลสงสัยเกี่ยวกับคำบริกรรมพุทโธของหนูว่า เออ..มันถูกมั้ย (หลวงพ่อปราโมทย์ : หือ? สงสัยยังไง) ว่ามันใช่ทางมั้ย? เพ่งแล้วนะ อะไรอย่างนี้
หลวงพ่อปราโมทย์ : อ้อ.. สังเกตที่จิตเราสิ พุทโธนี่นะ พุทโธแล้วคอยรู้ทันจิตของเราไป ไม่ใช่พุทโธไปบังคับจิตให้นิ่ง พุทโธ พุทโธ พุทโธ จิตฟุ้งซ่าน รู้ทัน พุทโธ พุทโธ จิตสงบ รู้ทัน นะ ฝึกอย่างนี้ พุทโธแล้วรู้ทันจิต อย่าไปพุทโธแล้วบังคับจิตนะ
โยม : หนูบังคับหรือคะ?
หลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าบังคับมันจะแน่น หนูวัดได้ด้วยตัวเอง
โยม : คือ หลังๆมันก็ไม่แน่นน่ะค่ะ
หลวงพ่อปราโมทย์ : มันฟุ้งหรือเปล่า?
โยม : ค่ะ ค่ะ คือหลวงพ่อคะ คือว่าหนูน่ะ สมมุติว่าหลวงพ่อแนะนำให้น้องคนนี้ไปดูกายใช่มั้ยคะ แต่หนูมีความรู้สึกว่า หนูน่ะมาดูกายไม่เป็น
หลวงพ่อปราโมทย์ : ไม่จำเป็น ทางใครทางมัน
โยม : ค่ะ ก็คือทำความสงบ
หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำความสงบนะ แล้วก็รู้ทันจิตไป (โยม : ค่ะ) เช่น พุทโธ พุทโธ ไป จิตสงบรู้ว่าสงบ พุทโธไป จิตฟุ้งซ่าน รู้ว่าฟุ้งซ่าน ให้จิตมีบ้านอยู่ อยู่กับพุทโธก็ได้ แต่พุทโธแล้วไม่ได้พุทโธบังคับจิต แต่พุทโธรู้ทันจิต”
File: 550429B.mp3
<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<<
http://www.dhamma.com/en/ and
http://www.trisikkhameditationcenter.org/
คอร์สเนกขัมมะที่ฟลอริดา
คอร์สเนกขัมมะ 10 วันที่ศูนย์ไตรสิกขาฟลอริดาจัดขึ้นทุกปี ปีละสี่ครั้ง โดยไม่มีคำใช้จ่ายแต่อย่างไร นอกจากนี้ยังมีคอรสเนกขัมมะภาษาอังกฤษ 5 วัน หากท่านใดสนใจทราบตารางเวลาของการจัดคอร์สเนกขัมมะที่ฟลอริดา กรุณาติดตามได้ที่หน้าปฏิทินกิจกรรมของศูนย์ไตรสิกขาฟลอริดา
กิจกรรมที่ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี:
ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี ที่อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เปิดต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยี่ยน หากต้องการเข้าเยี่ยมชมกรุณาติดต่อไปยัง FACEBOOK ของศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี เพื่อนัดวันเวลาที่เข้าชม
ไตรสิกขาเพชรบุรีมีกิจกรรมตลอดปี โดยไม่มีคำใช้จ่ายแต่อย่างไร หากท่านใดสนใจทราบตารางเวลาของกิจกรรมที่ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี กรุณาติดตามได้ที่หน้าปฏิทินกิจกรรมของศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี
ทำวัตรเย็นวันที่ห้า

“...1. รักษาศิล
พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ว่า “ฆราวาสจะรักษาศีลให้สะอาดหมดจด เหมือน
หอยสังข์ที่ขัดดีแล้วนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก” แต่เราก็ต้องพยายามรักษาศีลให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตั้งใจว่าเราจะไม่ทำบาปอกุศลทางกายและทางวาจา5 อย่าง ตั้งแต่ตื่นนอน คอยเตือนตัวเองเรื่อยๆ วันหนึ่งหลายๆ รอบจนจะนอนก็ยังตั้งใจรักษาศีลการรักษาศีลให้ดีที่สุดก็คือการมีสติรักษาจิต กิเลสอะไรเกิดขึ้นที่จิตให้รู้ทันถ้าเรารู้ทันได้ กิเลสจะครอบงำจิตไม่ได้ ศีลจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
2. การฝึกจิตใจให้มีความสุขความสงบ
ถ้าจิตใจฟุ้งซ่านก็ให้มานึกถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเมื่อจิตมาอยู่กับสิ่งนั้นแล้วมี
ความสุข เช่น ถ้าเราหายใจเข้าหายใจออกมีความสุข เราก็มาอยู่กับลมหายใจถ้าเราคิดถึงพระพุทธเจ้าแล้วมีความสุข เราก็พุทโธๆ คิดถึงพระพุทธเจ้าไปเรื่อย ดูท้องพองยุบแล้วมีความสุขก็ดูไป เดินจงกรมแล้วมีความสุขก็เดินไปถ้าเราอยู่กับอารมณ์ที่มีความสุข จิตจะสงบเอง จิตจะไม่วิ่งพล่านไปหาความสุขที่อื่น ฝึกไปเรื่อย เราจะได้จิตที่สงบ มีความสุข การเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวแบบนี้เป็นสมถกัมมัฏฐาน เรียกว่า “อารัมมณูปนิชฌาน”
3.ฝึกจิตใจให้มีสมาธิตั้งมั้นเป็นผู้รู้
ต่อไปเราต้องมาฝึกให้จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้รู้อารมณ์ จิตเป็นแค่คนดู เห็นอารมณ์ทั้งหลายไหลผ่านไป เป็นสมาธิที่สามารถเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ สมาธิชนิดนี้มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา เรียกว่า“ลักขณูปนิชฌาน” เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนากัมมัฏฐาน และเกิดในขณะที่เกิดอริยมรรค เกิดในขณะที่เกิดอริยผล และเกิดในขณะที่พระอริยบุคคลเข้าผลสมาบัติ
วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่นมี 3 วิธี
วิธีที่ 1 สำหรับคนทั่วไปทำยากหน่อยคือการทำฌาน เช่น การทำอานาปานสติรู้ลมหายใจ หรือเพ่งกสิณจนได้ฌานที่ 2 จิตจะทวนกลับมาที่ตัวรู้ ละวิตกละวิจาร จิตก็ตั้งมั่น เรียกว่าจิตมีเอโกทิภาวะคือมีความเป็นหนึ่ง พอได้ตัวรู้ในฌานที่ 2 แล้ว เมื่อออกจากฌาน ตัวรู้จะเด่นอยู่อีกหลายวัน แต่ไม่เกิน 7 วัน ก็จะหมองๆ ไปอีก ถ้าเราได้ตัวรู้ด้วยวิธีนี้ เราจะปฏิบัติธรรมได้สบายมาก เพราะมีกำลังของสมาธิแรงกล้า แต่ถ้าพวกเราเข้าฌานไม่ได้ก็อย่าท้อใจให้ทำสมาธิวิธีที่ 2 ซึ่งง่ายกว่ามาก
วิธีที่ 2 คนทั่วไปทำได้ง่ายมาก ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าตัวรู้กับตัวคิดนั้นตรงข้ามกัน ถ้าเมื่อไรเป็นตัวรู้ก็ไม่ใช่ตัวคิด ถ้าเมื่อไรเป็นตัวคิดก็ไม่ใช่ตัวรู้ ดังนั้น ให้เรารู้ทันเวลาจิตไหลไปคิด พอจิตไหลไป เรารู้ทัน จิตที่ไหลไปคิดจะดับ จะเกิดจิตที่เป็นตัวรู้ขึ้นมาแทน ง่ายๆแค่นี้เอง
แต่การที่จะรู้ทันจิตที่ไหลไปคิดต้องมีตัวช่วยไม่ให้มันไหลไปนาน โดยต้องหาเครื่องอยู่ให้จิต จะอยู่กับพุทโธก็ได้ อยู่กับลมหายใจก็ได้ ดูท้องพองยุบก็ได้แล้วเราก็แค่คอยรู้ทันจิตที่ไหลไป เช่น เวลาเราพุทโธ หรือรู้ลมหายใจหรือรู้ท้องพองยุบ เวลาจิตไหลไปคิดหรือไปเพ่ง ก็ให้รู้ทันจิตที่ไหลไปจิตที่ไหลไปจิตที่เคลื่อนไปคือจิตที่ฟุ้งซ่าน ถ้าเรารู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตไหลไปคิดก็รู้ จิตไหลไปเพ่งก็รู้ ความฟุ้งซ่านจะดับอัตโนมัติ (เพราะเมื่อสติเกิด อกุศลจะดับอัตโนมัติ) จิตจะเลิกฟุ้งซ่าน จิตก็ตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดูโดยอัตโนมัติต้องระวังว่าอย่าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมา เพราะถ้าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมาจะเป็นตัวปลอมผู้รู้ตัวนี้จะแข็งกระด้าง ใช้ไม่ได้จริงหรอก มันจะทื่อๆ ไปทั้งวันเลย
วิธีที่ 3 สำหรับคนที่ทำฌานก็ไม่ได้ เเละดูจิตที่เคลื่อนไปจับอารมณ์ก็ไม่เห็นก็ให้ใช้สติคอยรู้สึกอยู่ในร่างกาย เช่น เห็นร่างกายหายใจ ก็ให้ทำความรู้สึกเหมือนเห็นคนอื่นหายใจ เห็นร่างกายยืน เดิน นั่ง นอน ก็ให้ทำความรู้สึกเหมืิอนเห็นคนอื่นยืน เดิน นั่ง นอน ถ้าเราทำความรู้สึกในกายว่าร่างกายนี้เหมือนหุ่นยนต์เหมืิอนสิ่งที่ถูกรู้ถูกดู จิตที่เป็นผู้รู้ผู้ดูก็จะมีขึ้นมาได้เหมือนกัน เเต่ก็มีข้อเสีย คือถ้าทำความรู้สึกเเรงเกินไป หรือจงใจมาจับตัวรู้ ตัวรู้นี้จะเเข็งเกินไป กลายเป็นเพ่งตัวรู้ ซึ่งเป็นการติดสมถะที่เเก้ยากมาก
โรดแม็พ ธรรมปฏิบัติ ทางเดินสู่โลกุตตรธรรม หน้าที่ 215
หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมชุโช
<<<<<<<<<<<<<<<<
http://www.dhamma.com/en/ and
http://www.trisikkhameditationcenter.org/
<<<<<<<<<<<<<<<
ทำวัตรเช้าวันที่ห้า

ทำวัตรเย็นวันที่สี่

“...1. รักษาศิล
พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ว่า “ฆราวาสจะรักษาศีลให้สะอาดหมดจด เหมือน
หอยสังข์ที่ขัดดีแล้วนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก” แต่เราก็ต้องพยายามรักษาศีลให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตั้งใจว่าเราจะไม่ทำบาปอกุศลทางกายและทางวาจา5 อย่าง ตั้งแต่ตื่นนอน คอยเตือนตัวเองเรื่อยๆ วันหนึ่งหลายๆ รอบจนจะนอนก็ยังตั้งใจรักษาศีลการรักษาศีลให้ดีที่สุดก็คือการมีสติรักษาจิต กิเลสอะไรเกิดขึ้นที่จิตให้รู้ทันถ้าเรารู้ทันได้ กิเลสจะครอบงำจิตไม่ได้ ศีลจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
2. การฝึกจิตใจให้มีความสุขความสงบ
ถ้าจิตใจฟุ้งซ่านก็ให้มานึกถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเมื่อจิตมาอยู่กับสิ่งนั้นแล้วมี
ความสุข เช่น ถ้าเราหายใจเข้าหายใจออกมีความสุข เราก็มาอยู่กับลมหายใจถ้าเราคิดถึงพระพุทธเจ้าแล้วมีความสุข เราก็พุทโธๆ คิดถึงพระพุทธเจ้าไปเรื่อย ดูท้องพองยุบแล้วมีความสุขก็ดูไป เดินจงกรมแล้วมีความสุขก็เดินไปถ้าเราอยู่กับอารมณ์ที่มีความสุข จิตจะสงบเอง จิตจะไม่วิ่งพล่านไปหาความสุขที่อื่น ฝึกไปเรื่อย เราจะได้จิตที่สงบ มีความสุข การเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวแบบนี้เป็นสมถกัมมัฏฐาน เรียกว่า “อารัมมณูปนิชฌาน”
3.ฝึกจิตใจให้มีสมาธิตั้งมั้นเป็นผู้รู้
ต่อไปเราต้องมาฝึกให้จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เป็นผู้รู้อารมณ์ จิตเป็นแค่คนดู เห็นอารมณ์ทั้งหลายไหลผ่านไป เป็นสมาธิที่สามารถเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ สมาธิชนิดนี้มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา เรียกว่า“ลักขณูปนิชฌาน” เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนากัมมัฏฐาน และเกิดในขณะที่เกิดอริยมรรค เกิดในขณะที่เกิดอริยผล และเกิดในขณะที่พระอริยบุคคลเข้าผลสมาบัติ
วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่นมี 3 วิธี
วิธีที่ 1 สำหรับคนทั่วไปทำยากหน่อยคือการทำฌาน เช่น การทำอานาปานสติรู้ลมหายใจ หรือเพ่งกสิณจนได้ฌานที่ 2 จิตจะทวนกลับมาที่ตัวรู้ ละวิตกละวิจาร จิตก็ตั้งมั่น เรียกว่าจิตมีเอโกทิภาวะคือมีความเป็นหนึ่ง พอได้ตัวรู้ในฌานที่ 2 แล้ว เมื่อออกจากฌาน ตัวรู้จะเด่นอยู่อีกหลายวัน แต่ไม่เกิน 7 วัน ก็จะหมองๆ ไปอีก ถ้าเราได้ตัวรู้ด้วยวิธีนี้ เราจะปฏิบัติธรรมได้สบายมาก เพราะมีกำลังของสมาธิแรงกล้า แต่ถ้าพวกเราเข้าฌานไม่ได้ก็อย่าท้อใจให้ทำสมาธิวิธีที่ 2 ซึ่งง่ายกว่ามาก
วิธีที่ 2 คนทั่วไปทำได้ง่ายมาก ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าตัวรู้กับตัวคิดนั้นตรงข้ามกัน ถ้าเมื่อไรเป็นตัวรู้ก็ไม่ใช่ตัวคิด ถ้าเมื่อไรเป็นตัวคิดก็ไม่ใช่ตัวรู้ ดังนั้น ให้เรารู้ทันเวลาจิตไหลไปคิด พอจิตไหลไป เรารู้ทัน จิตที่ไหลไปคิดจะดับ จะเกิดจิตที่เป็นตัวรู้ขึ้นมาแทน ง่ายๆแค่นี้เอง
แต่การที่จะรู้ทันจิตที่ไหลไปคิดต้องมีตัวช่วยไม่ให้มันไหลไปนาน โดยต้องหาเครื่องอยู่ให้จิต จะอยู่กับพุทโธก็ได้ อยู่กับลมหายใจก็ได้ ดูท้องพองยุบก็ได้แล้วเราก็แค่คอยรู้ทันจิตที่ไหลไป เช่น เวลาเราพุทโธ หรือรู้ลมหายใจหรือรู้ท้องพองยุบ เวลาจิตไหลไปคิดหรือไปเพ่ง ก็ให้รู้ทันจิตที่ไหลไปจิตที่ไหลไปจิตที่เคลื่อนไปคือจิตที่ฟุ้งซ่าน ถ้าเรารู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตไหลไปคิดก็รู้ จิตไหลไปเพ่งก็รู้ ความฟุ้งซ่านจะดับอัตโนมัติ (เพราะเมื่อสติเกิด อกุศลจะดับอัตโนมัติ) จิตจะเลิกฟุ้งซ่าน จิตก็ตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดูโดยอัตโนมัติต้องระวังว่าอย่าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมา เพราะถ้าจงใจทำตัวผู้รู้ขึ้นมาจะเป็นตัวปลอมผู้รู้ตัวนี้จะแข็งกระด้าง ใช้ไม่ได้จริงหรอก มันจะทื่อๆ ไปทั้งวันเลย
วิธีที่ 3 สำหรับคนที่ทำฌานก็ไม่ได้ เเละดูจิตที่เคลื่อนไปจับอารมณ์ก็ไม่เห็นก็ให้ใช้สติคอยรู้สึกอยู่ในร่างกาย เช่น เห็นร่างกายหายใจ ก็ให้ทำความรู้สึกเหมือนเห็นคนอื่นหายใจ เห็นร่างกายยืน เดิน นั่ง นอน ก็ให้ทำความรู้สึกเหมืิอนเห็นคนอื่นยืน เดิน นั่ง นอน ถ้าเราทำความรู้สึกในกายว่าร่างกายนี้เหมือนหุ่นยนต์เหมืิอนสิ่งที่ถูกรู้ถูกดู จิตที่เป็นผู้รู้ผู้ดูก็จะมีขึ้นมาได้เหมือนกัน เเต่ก็มีข้อเสีย คือถ้าทำความรู้สึกเเรงเกินไป หรือจงใจมาจับตัวรู้ ตัวรู้นี้จะเเข็งเกินไป กลายเป็นเพ่งตัวรู้ ซึ่งเป็นการติดสมถะที่เเก้ยากมาก
โรดแม็พ ธรรมปฏิบัติ ทางเดินสู่โลกุตตรธรรม หน้าที่ 215
หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมชุโช
<<<<<<<<<<<<<<<<
http://www.dhamma.com/en/ and
http://www.trisikkhameditationcenter.org/
<<<<<<<<<<<<<<<
คอร์สเนกขัมมะที่เพชรบุรี
คอร์สเนกขัมมะที่ศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรีจัดขึ้นทุกปี ในช่วงที่ศูนย์เพชรบุรียังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ทางวัดวังพุไทร เพชรบุรี ได้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการจัดคอรสเนกขัมมะมาตลอดทุกปี เนื้อหาของคอรสเนกขัมมะครอบคลุมทั้งในส่วนของทฤษฏีและปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมคอร์สแต่งกายสุภาพ รับศีลแปด และสวดมนต์ทำวัตรเช้าและเย็นเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง เวลาส่วนที่เหลือ นอกจากรับประทานอาหารเช้าและกลางวัน และสนทนาธรรมในช่วงเช้า จะมีเวลาให้ปฏิบัติเดินจงกรมและนั่งสมาธิสามช่วงในแต่ละวัน ในส่วนของทฤษฏีนั้นเนื้อหาแบ่งเป็นจิตสิกขา ศีลสิกขา และ ปัญญาสิกขา เป็นการเรียนการสอนโดยฆราวาสธรรม ในบรรยากาศสบายๆเป็นกันเอง ผู้ปฏิบัติจะมีโอกาสสอบถามข้อข้องใจ เพื่อมุ่งให้ผู้สนใจทราบถึงว่า เราปฏิบัติทำไม เพื่ออะไร และควรปฏิบัติอย่างไร หัวข้อที่สนทนาธรรม ได้แก่ สติปัฏฐาน 4 อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาท มรรค 8 โพธิฌงค์ 7 วิสุทธิ 7 ฯลฯ
หากท่านใดสนใจทราบตารางเวลาของการจัดคอร์สเนกขัมมะที่เพชรบุรี กรุณาติดตามได้ที่หน้าปฏิทินกิจกรรมของศูนย์ไตรสิกขาเพชรบุรี